การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมอง
(Product and Package Visual Analysis)
โดย นายกำพล ตันแดง
26 มิถุนายน 2556
การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมองเห็นนั้น เป็นวิธีการศึกษา วิเคราะห์- วิจัยข้อมูลเบื้องต้น ที่นักวิจัยด้านการออกแบบสร้างสรรค์ แทบทุกสาขาอาชีพ ในขอบ ข่ายสายงาน ด้านการ ออกแบบทัศนสื่อสาร หรือที่เรียกว่าออกแบบนิเทศศิลป์ (Visual Communication Design) นั้น ต้องใช้ ในการเริ่มต้นทำงานเสมอ โดยวิธีและการสังเกตุ คุณลักษณะรูปลักษณ์ที่ปรากฏภายนอก ของสิ่ง ใดๆนั้นโดยตรง โดยไม่ใช้เครื่องมือ หรือ เครื่องช่วยใดๆมาประกอบ (Observation of the obvious, external features without the aid of an instrument) เป็นการประมวลสรุปในสิ่งที่ได้รับรู้ ได้มองเห็น ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นการ ตรวจสอบ
บรรจุภัณฑ์ที่ได้เราทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมองเห็น : ยาสระผม head &shoulders
ส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์สินค้าาสระผม head & shoulders
หมายเลขที่ 1 คือ แผ่นสลากปิดบนตัวโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการสื่อสาร
หมายเลขที่ 2 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า ( Logotype)
หมายเลขที่ 3 คือ ข้ออความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
หมายเลขที่ 4 คือ ข้อความแนะนำตัวสินค้า
หมายเลขที่ 5 คือ ปริมาตร-น้ำหนักสินค้า
หมายเลขที่ 6 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลขที่ 7 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลขที่ 8 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า ( Logotype)
หมายเลขที่ 9 คือ ข้อความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
หมายเลขที่ 10 คือ ข้อความการบ่งบอกวิธีใช้
หมายเลขที่ 11 คือ ข้อความการบ่งบอกถึงคำเตือน
หมายเลขที่ 12 คือ ข้อความการบ่งบอกผู้ผลิต-ที่อยู่ของผู้ผลิต
หมายเลขที่ 13 คือ ปริมาณสุทธิ
หมายเลขที่ 14 คือ barcode (บาร์โค้ด) สินค้า
หมายเลขที่ 15 คือ ข้อความการบ่งบอกสินค้าแนะนำ เวปไซต์
หมายเลขที่ 16 คือ ข้อความการบ่งบอกถึงบริษัทผู้ผลิต
หมายเลขที่ 17 คือ กราฟริกอัตลักษณ์แสดงประเภทของพลาสติก
หมายเลขที่ 18 คือ ข้อความการบ่งบอกครั้งที่ผลิต-วันเดือนปีที่ผลิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น